วิชาฟิสิกส์ที่นักเรียนจะได้เรียน
จะเป็นความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้น และสะสมกันมาในช่วงเวลา
400ปีซึ่งเป็นส่วนพื้นฐานของวิชาที่ได้จัดให้เป็นระบบ
เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการเรียนรู้ และในที่สุดเรื่องต่าง ๆ
ที่เรียนจะสัมพันธ์กันทุกเรื่อง
การเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีความเข้าใจหลักการของเรื่องนั้น ๆ
จนสามารถนาหลักการไปประยุกต์ได้ การฝึกให้สามารถประยุกต์หลักการกับการแบบฝึกหัดหรือโจทย์ปัญหาเป็นส่วนสาคัญอย่างหนึ่งที่นักเรียนควรพยายามคิดด้วยตนเอง อ่านต่อ
วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่ของวัตถุใน 1 มิติ
เป็นการเคลื่อนที่ที่ไม่สนใจถึงสาเหตุที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่เรียกว่า จลศาสตร์
1.1
คำจำกัดความของตำแหน่งและการกระจัด
ก่อนจะทำความเข้าใจเรื่องต่าง ๆ ในหัวข้อต่อ ๆ ไป
ต้องทราบความหมายตำแหน่งของวัตถุก่อน อ่านต่อ
บทที่ 3 แรงและกฎการเคลื่อนที่
1.แรง
ในชีวิตประจำวัน ทุกคนออกแรงกระทำต่อวัตถุต่างๆกัน เช่น ดันประตู
หิ้วกระเป๋า ยกหนังสือ เข็นรถ เป็นต้น การออกแรงดังกล่าวจะบอกขนาดของแรงว่ามากหรือน้อยมักใช้ความรู้สึกเข้าช่วย
เช่น รู้สึกว่ายกหนังสือออกแรงน้อยกว่าเข็นรถ อ่านต่อ
บทที่ 4 สมดุลงานและพลังงาน
งาน(work)คือ
ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบ
งานเป็นปริมาณที่สามารถคำนวณได้จากความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้
งาน = แรง
(นิวตัน) x ระยะทาง
(เมตร)
เมื่อ W คือ งาน มีหน่วยเป็นจูล(J)หรือนิวตันเมตร(N-m)
F คือ
แรงที่กระทำ มีนหน่วยเป็นนิวตัน(N)
s คือ
ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวราบ มีหน่วยเป็นเมตร (m) อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)